งานจ้างสำรวจและออกแบบ
โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะที่ 2
พัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต เชื่อมต่อทุกจุดหมายปลายทาง
งานจ้างสำรวจและออกแบบ
โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะที่ 2
พัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต เชื่อมต่อทุกจุดหมายปลายทาง


งานจ้างสำรวจและออกแบบ
โครงการพัฒนา
ท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะที่ 2
พัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต
เชื่อมต่อทุกจุดหมายปลายทาง


ความเป็นมาของโครงการ
ความเป็นมาของโครงการ
เดินหน้า
ท่าอากาศยานภูเก็ต
ระยะที่ 2
เดินหน้าท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะที่ 2
ท่าอากาศยานภูเก็ต ตั้งอยู่ทางด้านเหนือของเกาะภูเก็ต
เป็นท่าอากาศยานที่มีเที่ยวบินหนาแน่นเป็นอันดับที่สามของประเทศ รองจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ตเปรียบเสมือนประตูบานแรกในการต้อนรับนักเดินทาง และเป็นฟันเฟืองสำคัญด้านการท่องเที่ยว
ท่าอากาศยานภูเก็ต ตั้งอยู่ทางด้านเหนือ
ของเกาะภูเก็ตเป็นท่าอากาศยานที่มีเที่ยวบินหนาแน่นเป็นอันดับที่สามของประเทศ รองจาก
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ตเปรียบเสมือนประตูบานแรกในการต้อนรับนักเดินทาง และเป็นฟันเฟืองสำคัญด้านการท่องเที่ยว
ท่าอากาศยานภูเก็ต ตั้งอยู่ทางด้านเหนือของเกาะภูเก็ตเป็นท่าอากาศยานที่มีเที่ยวบินหนาแน่นเป็นอันดับที่สามของประเทศ
รองจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและ
ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ตเปรียบเสมือนประตูบานแรกในการต้อนรับ
นักเดินทาง และเป็นฟันเฟืองสำคัญด้าน
การท่องเที่ยว


สถานการณ์โควิด-19 คลี่คลาย
ประกอบกับมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ ส่งผลให้การเติบโตของปริมาณผู้โดยสารและเที่ยวบินของท่าอากาศยานภูเก็ตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี 2567 ท่าอากาศยานภูเก็ตมีเที่ยวบินรวม 98,711 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.97 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2566 แบ่งเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ จำนวน 53,378 เที่ยวบิน และเที่ยวบินภายในประเทศ 45,333 เที่ยวบิน
ประกอบกับมาตรการกระตุ้นเศรฐกิจของภาครัฐ ส่งผลให้การเติบโตของปริมาณผู้โดยสารและเที่ยวบินของท่าอากาศยานภูเก็ตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี 2567 ท่าอากาศยานภูเก็ต
มีเที่ยวบินรวม 98,711 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.97
เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2566 แบ่งเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ จำนวน 53,378 เที่ยวบิน และเที่ยวบินภายในประเทศ 45,333 เที่ยวบิน
จำนวนผู้โดยสารเพิ่มขึ้น
ขณะที่ผู้โดยสารมีจำนวนทั้งสิ้น 16.40 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.94 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2566 แบ่งเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ จำนวน 9.86 ล้านคน และผู้โดยสารภายในประเทศ จำนวน 6.52 ล้านคน ซึ่งเกินขีดความสามารถของท่าอากาศยานภูเก็ตที่สามารถรองรับผู้โดยสารที่ 12.5 ล้านคนต่อปี
ขณะที่ผู้โดยสารมีจำนวนทั้งสิ้น 16.40 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.94 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2566 แบ่งเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ จำนวน 9.86 ล้านคน และผู้โดยสารภายในประเทศ จำนวน 6.52 ล้านคน ซึ่งเกินขีดความสามารถของ
ท่าอากาศยานภูเก็ตที่สามารถรองรับผู้โดยสารที่ 12.5
ล้านคนต่อปี

สถานการณ์โควิด-19 คลี่คลาย
ประกอบกับมาตรการกระตุ้นเศรฐกิจของภาครัฐ
ส่งผลให้การเติบโตของปริมาณผู้โดยสารและเที่ยวบินของท่าอากาศยานภูเก็ตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ในปี 2567 ท่าอากาศยานภูเก็ตมีเที่ยวบิน
รวม 98,711 เที่ยวบิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.97
เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2566 แบ่งเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ จำนวน 53,378 เที่ยวบิน และเที่ยวบินภายในประเทศ 45,333 เที่ยวบิน
จำนวนผู้โดยสารเพิ่มขึ้น
ขณะที่ผู้โดยสารมีจำนวนทั้งสิ้น 16.40 ล้านคน
เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.94 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2566 แบ่งเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ จำนวน 9.86 ล้านคน และผู้โดยสารภายในประเทศ จำนวน 6.52 ล้านคน ซึ่งเกินขีดความสามารถของท่าอากาศยานภูเก็ตที่สามารถรองรับผู้โดยสารที่ 12.5 ล้านคนต่อปี



จากปัจจัยดังกล่าว บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) จึงได้ว่าจ้างกลุ่มบริษัท พี.เค.เอ.ซี ดำเนินงานสำรวจและออกแบบโครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพการให้บริการและขีดความสามารถในการขนส่งทางอากาศ รองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในอนาคต และสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจสู่ภูมิภาคมากขึ้น สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของประเทศในด้านต่างๆ นโยบายของรัฐ รวมไปถึงยุทธศาสตร์ของ ทอท.
จากปัจจัยดังกล่าว บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) จึงได้ว่าจ้างกลุ่มบริษัท พี.เค.เอ.ซี ดำเนินงานสำรวจและออกแบบโครงการพัฒนา
ท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพการให้บริการและขีดความสามารถในการขนส่งทางอากาศ รองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในอนาคต และสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
สู่ภูมิภาคมากขึ้น สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของประเทศในด้านต่างๆ นโยบายของรัฐ รวมไปถึงยุทธศาสตร์ของ ทอท.

รายละเอียดโครงการ
การพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะที่ 2
การพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะที่ 2
ท่าอากาศยานภูเก็ต มีพื้นที่ประมาณ 1,447 ไร่ หรือประมาณ 2.3 ตารางกิโลเมตร
ตั้งอยู่ทางด้านเหนือของเกาะภูเก็ต ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง อาณาเขตด้านทิศตะวันตกจรดทะเลอันดามัน ด้านทิศตะวันออกจรดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402
ด้านทิศเหนือและด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดอุทยานแห่งชาติในยาง
ท่าอากาศยานภูเก็ต มีพื้นที่ประมาณ 1,447 ไร่ หรือประมาณ
2.3 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทางด้านเหนือของเกาะภูเก็ต ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง อาณาเขตด้านทิศตะวันตกจรดทะเลอันดามัน
ด้านทิศตะวันออกจรดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402
ด้านทิศเหนือและด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดอุทยานแห่งชาติในยาง
ท่าอากาศยานภูเก็ต มีพื้นที่ประมาณ 1,447 ไร่ หรือ
ประมาณ 2.3 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทางด้านเหนือ
ของเกาะภูเก็ต ตำบลไม้ขาว อำเภอถลางอาณาเขตด้านทิศตะวันตกจรดทะเลอันดามัน ด้านทิศตะวันออกจรดทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402 ด้านทิศเหนือและด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดอุทยานแห่งชาติในยาง



โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะที่ 2 ประกอบด้วย 3 กลุ่มงาน
กลุ่มที่ 1 งานเขตการบิน
• งานสำรวจและออกแบบปรับปรุงและขยายลานจอดอากาศยาน รวมถึงลานจอดอากาศยานค้างคืน พร้อมงานระบบสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง • งานสำรวจและออกแบบลานจอดอุปกรณ์ภาคพื้น พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มที่ 1 งานเขตการบิน
• งานสำรวจและออกแบบปรับปรุงและขยายลานจอดอากาศยาน รวมถึงลานจอดอากาศยานค้างคืน พร้อมงานระบบสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง • งานสำรวจและออกแบบลานจอดอุปกรณ์ภาคพื้น พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มที่ 1 งานเขตการบิน
• งานสำรวจและออกแบบปรับปรุงและขยายลานจอดอากาศยาน รวมถึงลานจอดอากาศยานค้างคืน พร้อมงานระบบสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง • งานสำรวจและออกแบบลานจอดอุปกรณ์ภาคพื้น พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มที่ 2 งานอาคารผู้โดยสาร
• งานสำรวจและออกแบบส่วนต่อขยายอาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ
กลุ่มที่ 2 งานอาคารผู้โดยสาร
• งานสำรวจและออกแบบส่วนต่อขยายอาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ
กลุ่มที่ 2 งานอาคารผู้โดยสาร
• งานสำรวจและออกแบบส่วนต่อขยายอาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ
กลุ่มที่ 3 งานระบบสนับสนุนท่าอากาศยาน
• งานสำรวจและออกแบบปรับปรุงระบบประปา • งานสำรวจและออกแบบปรับปรุงระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย • งานสำรวจและออกแบบไฟฟ้าภายในท่าอากาศยานภูเก็ต • งานสำรวจและออกแบบปรับปรุงระบบถนน
กลุ่มที่ 3 งานระบบสนับสนุนท่าอากาศยาน
• งานสำรวจและออกแบบปรับปรุงระบบประปา • งานสำรวจและออกแบบปรับปรุงระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย • งานสำรวจและออกแบบไฟฟ้าภายในท่าอากาศยานภูเก็ต • งานสำรวจและออกแบบปรับปรุงระบบถนน
กลุ่มที่ 3 งานระบบสนับสนุนท่าอากาศยาน
• งานสำรวจและออกแบบปรับปรุงระบบประปา • งานสำรวจและออกแบบปรับปรุงระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย • งานสำรวจและออกแบบไฟฟ้าภายในท่าอากาศยานภูเก็ต • งานสำรวจและออกแบบปรับปรุงระบบถนน
รายละเอียดโครงการ
เพิ่มศักยภาพให้ท่าอากาศยาน สร้างโอกาสให้กับประเทศ
เพิ่มศักยภาพให้ท่าอากาศยาน สร้างโอกาสให้กับประเทศ
เมื่อการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะที่ 2 ดำเนินการแล้วเสร็จ จะช่วยเพิ่มศักยภาพการให้บริการของท่าอากาศยานและขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับประเทศ
เมื่อการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะที่ 2 ดำเนินการแล้วเสร็จ จะช่วยเพิ่มศักยภาพการให้บริการของท่าอากาศยานและขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับประเทศ
เพิ่มขีดความสามารถในการรองรับผู้โดยสาร จากเดิม 12.5 ล้านคนต่อปี เป็นไม่น้อยกว่า 18 ล้านคนต่อปี
ปรับปรุงเพิ่มหลุมจอดอากาศยานแบบประชิดอาคาร
อีก 7 หุลมจอด แบ่งเป็น
• Code C จำนวน 5 หลุมจอด
• Code E จำนวน 2 หลุมจอด
ส่งเสริมการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจในจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดข้างเคียง
เข้าถึงง่าย เดินทางคล่องตัว ปรับปรุงการจราจร เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางจากท่าอากาศยานเข้าสู่เมือง และสถานที่ท่องเที่ยวได้อย่างสะดวก
เพิ่มประสิทธิภาพและมาตรฐานด้านความปลอดภัยของท่าอากาศยานสู่มาตรฐานสากล
รายละเอียดโครงการ
เพิ่มศักยภาพให้ท่าอากาศยาน สร้างโอกาสให้กับประเทศ
เมื่อการพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ระยะที่ 2 ดำเนินการแล้วเสร็จ จะช่วยเพิ่มศักยภาพการให้บริการของท่าอากาศยานและขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับประเทศ
เพิ่มขีดความสามารถในการรองรับผู้โดยสาร จากเดิม 12.5 ล้านคนต่อปี เป็นไม่น้อยกว่า 18 ล้านคนต่อปี
ปรับปรุงเพิ่มหลุมจอดอากาศยานแบบประชิดอาคาร 7 หุลมจอด แบ่งเป็น
• Code C จำนวน 5 หลุมจอด
• Code E จำนวน 2 หลุมจอด
ส่งเสริมการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจในจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดข้างเคียง
เข้าถึงง่าย เดินทางคล่องตัว ปรับปรุงการจราจร เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางจากท่าอากาศยานเข้าสู่เมือง และสถานที่ท่องเที่ยวได้อย่างสะดวก
เพิ่มประสิทธิภาพและมาตรฐานด้านความปลอดภัยของท่าอากาศยานสู่มาตรฐานสากล
ปรับปรุงเพิ่มหลุมจอดอากาศยาน Code C และ Code E รวมกัน
7 หลุมจอด
7 หลุมจอด
รองรับผู้โดยสาร
18 ล้านคน/ปี
18 ล้านคน/ปี
ส่งเสริมการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจ
ในภูเก็ต
ในภูเก็ต
ปรับปรุงเพิ่มหลุมจอดอากาศยาน Code C และ Code E รวมกัน
7 หลุมจอด
รองรับผู้โดยสาร
18 ล้านคน/ปี
ส่งเสริมการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจ
ในภูเก็ต
รายละเอียดโครงการ
ใส่ใจการออกแบบ รองรับการเดินทาง
แนวคิดในการออกแบบอาคารผู้โดยสารในโครงการ คือ การคำนึงถึงความสะดวกสบายในการใช้บริการของผู้โดยสาร ประโยชน์ใช้สอย ความสวยงาม รูปลักษณ์ของอาคารที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ รวมทั้งเป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมายมาตรฐานภายในประเทศไทย และข้อกำหนดสากล
แนวคิดในการออกแบบอาคารผู้โดยสารในโครงการ คือ การคำนึงถึงความสะดวกสบายในการใช้บริการของผู้โดยสาร ประโยชน์ใช้สอย ความสวยงาม
รูปลักษณ์ของอาคารที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
รวมทั้งเป็นไปตามข้อกำหนดของกฎหมายมาตรฐานภายในประเทศไทย และข้อกำหนดสากล



ใช้งานง่าย
รองรับการพัฒนา
จัดวางพื้นที่อาคารผู้โดยสารที่เน้นประโยชน์ใช้สอย ผู้โดยสารเข้าถึงง่าย ใช้พื้นที่คุ้มค่าที่สุด บริหารพื้นที่ได้เต็มประสิทธิภาพ
จัดวางพื้นที่อาคาร
ผู้โดยสารที่เน้นประโยชน์ใช้สอย ผู้โดยสารเข้าถึงง่าย ใช้พื้นที่คุ้มค่าที่สุด บริหารพื้นที่ได้เต็มประสิทธิภาพ

ส่งเสริมความเป็นเอกลักษณ์ท้องถิ่น
นำรูปทรง กลิ่นอาย ลักษณะที่โดดเด่นของพื้นที่มาประยุกต์ใช้ในงานสถาปัตย์ เช่น เกลียวคลื่น ปะการัง ลายผ้าบาติก อาคารสไตล์ชิโน-โปรตุกิส

ส่งเสริมความเป็นเอกลักษณ์ท้องถิ่น
นำรูปทรง กลิ่นอาย ลักษณะที่โดดเด่นของพื้นที่มาประยุกต์ใช้ในงานสถาปัตย์ เช่น เกลียวคลื่น ปะการัง ลายผ้าบาติก อาคารสไตล์ชิโน-โปรตุกิส

ส่งเสริมความเป็นเอกลักษณ์
ท้องถิ่น
นำรูปทรง กลิ่นอาย ลักษณะที่โดดเด่นของพื้นที่มาประยุกต์ใช้ในงานสถาปัตย์ เช่น เกลียวคลื่น ปะการัง ลายผ้าบาติก อาคารสไตล์ชิโน-โปรตุกิส
ออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกที่เหมาะสมกับผู้ใช้บริการทุกคน (Universal Design) เพื่อตอบสนองความต้องการในการใช้บริการให้ครบถ้วน
สะดวกสบายเพื่อทุกคน
สะดวกสบาย
เพื่อทุกคน



ความก้าวหน้าโครงการ
Design Status



ติดต่อเรา
ติดต่อและสอบถามเพิ่มเติม
ติดต่อและสอบถามเพิ่มเติม
Have Questions? We Have Answers
ติดต่อเรา
ติดต่อและสอบถามเพิ่มเติม
Have Questions? We Have Answers